วันพุธที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

"ยาเสียสาว" คืออะไร มีอันตรายต่อร่างกายอย่างไรบ้าง?

"ยาเสียสาว" เป็นอย่างไร กินแล้วมีอาการอย่างไร และเราจะหลีกเลี่ยงการได้รับยานี้ได้อย่างไร มีข้อมูลจาก กรมการแพทย์ โดยสถาบันบำบัดรักษาและฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดแห่งชาติบรมราชชนนี (สบยช.) มาเตือนภัยทุกคน โดยเฉพาะผู้หญิง และเยาวชน

วันอังคารที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

ทีมวิจัยไทยพบ สารสกัดจาก "กระชายขาว" มีฤทธิ์ต้าน "โควิด-19"

เตรียมจดสิทธิบัตร งานวิจัยของม.มหิดล และ TCELS กับความสำเร็จในการพัฒนาสารสกัดกระชายขาวเพื่อใช้เป็นยาสำหรับโรคโควิด-19 คาดว่าใช้เวลาอย่างน้อย 1 ปี ในการวิจัยและพัฒนาให้สำเร็จ

วันพุธที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

4 วัคซีนที่ “ผู้ใหญ่” ควรฉีดเพื่อป้องกันโรค

ถึงแม้ว่าผู้ใหญ่จะมีภูมิคุ้มกันที่แข็งแรงกว่าเด็ก แต่สำหรับบางโรค แม้ว่าเราจะเคยฉีดวัคซีนแล้วตอนเด็กๆ ระดับภูมิคุ้มกันกลับค่อยๆ ลดลงจนไม่เพียงพอสำหรับการป้องกันโรคอีกต่อไป  นอกจากนี้ยังมีโรคที่อุบัติใหม่ขึ้นอยู่เสมอ ทำให้มีการค้นพบวัคซีนใหม่ๆ ดังนั้นวัคซีนจึงไม่ใช่สิ่งที่ใช้เฉพาะเด็กเล็กอีกต่อไป พญ.กฤดากร เกษรคำ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญ จาก Addlife Check-Up Center ชั้น 2 ไลฟ์เซ็นเตอร์ (คิวเฮ้าส์ ลุมพินี) จะมาเล่าถึงวัคซีนที่จำเป็นสำหรับผู้ใหญ่ว่ามีอะไรบ้าง

วันศุกร์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

รู้จัก "กัวซา" การถอนพิษตำหรับแพทย์แผนจีน

ในปัจจุบันคนส่วนใหญ่มักทำงานหรือทำกิจกรรมต่างๆ ขณะเดียวกันอาจหลงลืมดูแลเรื่องของสุขภาพร่างกายเนื่องจากต้องใช้เวลาในการรักษาระยะเวลาที่นาน ต้องรับประทานยาอย่างต่อเนื่อง การเพิกเฉยเหล่านี้อาจทำให้มีโรคตามมาอย่างไม่รู้ตัว วันนี้ Hello คุณหมอมีการรักษาทางการแพทย์อีกแขนงหนึ่งที่เรียกว่า กัวซา มาแนะนำ

วันจันทร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

“วิตามิน” ไม่ใช่ “ยา” ความคล้ายที่ทำให้หลายคนเข้าใจผิด

ร่างกายของคนเรา มีสารต่างๆ ประกอบอยู่ในร่างกาย ไม่ว่าจะเป็น โปรตีน น้ำตาล วิตามิน และแร่ธาตุต่างๆ การได้รับ “วิตามิน” ที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายจึงเป็นสิ่งที่จำเป็น เพราะวิตามินสามารถช่วยบำรุงและฟื้นฟูสุขภาพ โดยไม่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของตับและไต แตกต่างกับ “ยา” ซึ่งหากใช้ติดต่อกันเป็นประจำ อาจส่งผลเสียต่อตับและไตได้ บทความฉบับนี้ มีข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับ วิตามิน และ ยา จากทีมเภสัชกรไบโอฟาร์มมาฝากกัน

วันพุธที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563

“ยาปฏิชีวนะ” ใช้อย่างไร ไม่เสี่ยง “เชื้อดื้อยา”

หากไม่อยากเป็นโรคที่ใช้ยาถูก ๆ ไม่ได้ ต้องใช้ยาแรง ๆ แพง ๆ หรือไม่สามารถรักษาให้หายได้ด้วยยาเหมือนคนอื่น ควรใช้ยาปฏิชีวนะให้ถูกต้อง ไม่สุ่มสี่สุ่มห้าซื้อมากินเองเด็ดขาด